#21
|
|||
|
|||
อย่างนี้สงสัยต้องทำลายน้ำตัวเบ้งๆ ไว้กลางภาพแล้วล่ะค่ะ หรือไม่ก็ทำรูป low res สุดๆ
|
#22
|
|||
|
|||
สงสัยต้องมีตัวอย่างของ sos เองซะแล้ว
|
#23
|
||||
|
||||
มักง่ายอย่างนี้.....ช่างไม่อายกันเลยหรือคะนี่....... สโลแกนของพวกนี้คงจะใช้ว่า.... "ของดี....มีไว้ก๊อปปี้"
__________________
Saaychol |
#24
|
|||
|
|||
อยู่ที่ผู้กระทำเลย
ไม่มีความรับผิดชอบ แค่การให้เครดิต ไว้แค่เนี่ย จะคาด เครดิตกลางรูปก็เสียดายรูปสวยๆๆ |
#25
|
|||
|
|||
ขอผมก้อโดน ทั้งความและรูปภาพ
ล่าสุดเป็น ASTV ผู้จัดการออนไลน์ ทำจดหมายไปแจ้งกองบรรณาธิการ ยังดีที่มันทำจดหมายขอโทษ และเอารูปเราออก เสียดายเนอะ จ่ายเป็นตังค์ก้อดี จะได้เอามาทำเป็นกองทุนตู้ยานักดำน้ำ แจกจ่ายให้ชมรมอนุรักษ์ต่างๆ แต่กระทู้นี้ดีมาก ขออนุญาต นำไปแปะที่ blog และ fb นะครับ |
#26
|
|||
|
|||
ขออนุญาตขุดกระทู้หน่อยนะครับ เผอิญมีความคิดเห็นเล็กน้อย
ในฐานะที่ผมเป็นทั้งอดีต นศ เอกสิ่งพิมพ์ และชอบถ่ายภาพเป็นงานอดิเรก ก็เข้าใจและเห็นใจทั้งสองฝ่ายเลยครับ แต่ค่อนข้างเอนเอียงมาทางเจ้าของภาพมากกว่า ในมุมของคนถ่ายภาพ กว่าจะได้ภาพหนึ่งภาพ บางครั้ง ต้องข้ามน้ำข้ามทะเลกันไป ต้องควักกระเป๋าซื้ออุปกรณ์ถ่ายภาพราคาแพง ลงทุนทั้งเงิน ทั้งเวลา ทั้งความเหน็ดเหนื่อยและอดทน กว่าจะได้ภาพงามๆ มาหนึ่งภาพ ยิ่งพวกภาพใจ้ทะเล ภาพนกสวยๆ หรือว่าภาพกีฬาช็อตเด็ดๆ ล้วนต้องลงทุนลงแรงมากมาย ส่วนในมุมของนักหนังสือพิมพ์หรือนักวารสาร การเร่งทำงานตามกรอบของเวลา และการพยายามสร้างสรรค์ผลงานของตัวเอง ก็เป็นสิ่งที่น่าเห็นใจ จะให้ขออนุญาตเจ้าของภาพ ก็เป็นอะไรที่น่าทำ แต่บางครั้ง ก็ไม่ทันการ การลงเครดิต แม้จะเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ แต่เมื่อดูในแง่ของการ Give & Take แล้ว ไม่ยุติธรรมมากๆ มันเหมือนกับการที่มีคนขโมยต้นฉบับของนักเขียนคนนั้นไปออกสู่สาธารณะก่อน แม้จะเครดิต แต่ก็คงเป็นสิ่งที่นักเขียนนั้นยากจะให้อภัย ถ้าเป็นสำนักพิมพ์ขนาดเล็ก การเอารูปคนอื่นมาสร้างผลงาน อาจเป็นเรื่องที่น่าเห็นใจ (แต่ก็ยังยอมรับไม่ได้อยู่ดี) แต่ถ้าเป็นสำนักพิมพ์ขนาดใหญ่นี่ น่าตำหนิมากๆ เพราะส่วนมาก แต่ละสำนักพิมพ์ขนาดใหญ่จะมีคลังภาพและคลังข้อมูลเป็นของตัวเองอยู่แล้ว ซึ่งเป็นผลงานที่ได้จากการทำข่าวการหาข้อมูล และการถ่ายภาพของช่างภาพและนักข่าวอยู่แล้ว จริงๆ แล้ว เว็บไซต์ที่ขายรูปก็ใช่ว่าจะไม่มี และรูปที่ลงในนั้นก็เป็นรูปที่ทางเจ้าของภาพเจตนาเผยแพร่อยู่แล้วด้วย ในการสร้างสรรค์ผลงาน ถ้าหารูปที่ดีๆ ที่ตัวเองมีไม่ได้ อย่างน้อย ผมคิดว่า น่าจะไปเอาตามเว็บซื้อขายภาพเหล่านั้นมากกว่า ไม่น่ามาหาตามเน็ตแล้วเอาของเขาไปใช้โดยไม่บอกกล่าวกันก่อน |
#27
|
||||
|
||||
สองสายไม่ใช่คนหวงภาพ ถ้านำไปใช้เพื่อการศึกษาหรือสาธารณประโยชน์ ก็ยินดีให้ ถ้าขอมาดีๆ ก็จะให้ภาพดีๆ ไม่มีลายน้ำไปให้ใช้ เพียงขอให้บอกแหล่งที่มาของภาพให้เท่านั้นค่ะ แต่นี่นำไปใช้โดยไม่บอกกล่าว และ/หรือ ให้เครดิต แถมเอาภาพไปใช้ โดยลบลายน้ำกลางภาพ (ไม่หมดเกลี้ยง) หรือตัดขอบที่บอกแหล่งที่มาออกไปเฉยๆ น่ารังเกียจและน่าประนามมากจริงๆค่ะ...
__________________
Saaychol |
#28
|
||||
|
||||
ลองดูกรณีของ USA ดูบ้างนะครับ ได้รับชดใช้ตั้ง US$1.2 million ... จากเว็บไซท์ www.themalaymailonline.com/ Washington University Law: Earn an LL.M. in U.S. Law online. One of the pictures in question: Daniel Morel pic via court documents ..... from www.themalaymailonline.com/ NEW YORK, Nov 23 A federal jury yesterday ordered two media companies to pay US$1.2 million (RM3.8 million) to a freelance photojournalist for their unauthorised use of photographs he posted on Twitter. The jury found that Agence France-Presse and Getty Images wilfully violated the Copyright Act when they used photos Daniel Morel took in his native Haiti after the 2010 earthquake that killed more than 250,000 people, Morels lawyer, Joseph Baio, said. The case is one of the first to address how images that individuals make available to the public through social media can be used by third parties for commercial purposes. We believe that this is the first time that these defendants or any other major digital licensor of photography have been found liable for wilful violations of the Copyright Act, Baio said in an email. Lawyers for AFP and Getty did not immediately respond to requests for comment. US District Judge Alison Nathan, who presided over the trial, had ruled in January that the two companies were liable for infringement. An editor at AFP discovered Morels photos through another Twitter users account and provided them to Getty. The photos were then widely disseminated to Gettys clients, including several television networks and The Washington Post. The trial was held solely to determine the amount of damages for Morel, based on whether the jury found that AFP and Getty wilfully infringed on Morels copyrights. The US$1.2 million was the maximum statutory penalty available under the Copyright Act, Baio said. AFP had asked for the award to be set at US$120,000. Several news outlets that published Morels images previously settled with the photographer for undisclosed amounts, including The Washington Post, CBS, ABC and CNN. During the trial, Marcia Paul, a lawyer for Getty, said Morel was asking the jury to make him the best paid news photographer on the planet. Joshua Kaufman, a lawyer for AFP, blamed the infringement on an innocent mistake and said the Twitter user who posted Morels photos without attribution bore responsibility for the error. The AFP editor, Kaufman said, believed the pictures were posted for public distribution. AFP filed the lawsuit in 2010 against Morel, seeking a declaration that it had not infringed on his copyrights, after Morel accused it of improper use. Morel then filed his counterclaims. AFP had initially argued that Twitters terms of service permitted the use of the photos. But Nathan found in January that the companys policies allowed posting and retweeting of images but did not grant the right to use them commercially. The case is Agence France-Presse v. Morel, US District Court for the Southern District of New York, No. 10-02730. Reuters
__________________
การเมืองไม่ยุ่ง มุ่งแต่รักษ์ทะเลไทยจ้า .... |
|
|